ในบทความนี้จะพูดถึงเมื่อ เป็น แผลในกระเพาะอาหาร ห้ามกินอะไร ห้ามกินผลไม้อะไร และ กินอะไรได้บ้าง แล้วสาเหตุกระเพาะเป็นแผล อาการเกิดจากอะไร ทำไมวิธีรักษาด้วยยาถึงไม่ดีเท่าทานอาหารเสริมสมุนไพร
บทความนี้จะพาคุณไปหาคำตอบกัน ถ้าพร้อมแล้วก็ไปดูกันเลย!!
กระเพาะเป็นแผล อาการ จะเป็นยังไงบ้าง?
เมื่อ กระเพาะเป็นแผล อาการ จะมีดังนี้
- ปวดแสบปวดร้อนในช่องท้องส่วนบน อาจปวดตอนกลางดึก หรือเวลาใดก็ได้เมื่อท้องว่าง ซึ่งอาจเกิดจากกรดไหลย้อน
- ปวดท้องหลังทานอาหารรสเผ็ดจัด
- อาการปวดมักเป็นๆ หายๆ
- คลื่นไส้และอาเจียน อาจเกิดจากกรดในกระเพาะอาหารไหลย้อนขึ้นมาในหลอดอาหาร
- เบื่ออาหาร
- น้ำหนักลด
- ท้องอืด เนื่องจากการสะสมของแก๊สในกระเพาะอาหารหรือลำไส้
- อุจจาระเป็นเลือด นี่เป็นกรณีที่มีแผลในกระเพาะอาหารรุนแรง จนทำให้เลือดออก ควรพบแพทย์โดยด่วน
- บางรายอาจไม่มีอาการใดๆ เลย
คุณสามารถดูรายละเอียดเชิงลึกเกี่ยวกับอาการของแผลในกระเพาะอาหารได้ที่ :
【 9 สัญญาณชี้อาการเป็นแผลในกระเพาะอาหาร 】มีอะไรบ้าง?
สาเหตุ กระเพาะเป็นแผล เกิดจาก อะไร?
สาเหตุของ กระเพาะเป็นแผล เกิดจาก ปัจจัยหลายๆอย่าง ได้แก่
- การติดเชื้อแบคทีเรีย Helicobacter pylori (H. pylori) เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของแผลในกระเพาะอาหาร ซึ่งทำให้เกิดการอักเสบและระคายเคืองจนเป็นแผลในกระเพาะอาหาร
- การใช้ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) เช่น ไอบูโพรเฟน และแอสไพริน
- การใช้ยารักษาโรคกระดูกและข้ออักเสบ
- ความเครียดสะสม สามารถเพิ่มการผลิตกรดในกระเพาะอาหาร ซึ่งจะนำไปสู่การเป็นแผลในกระเพาะอาหารได้
- การทานอาหารรสเผ็ดจัดๆ
- การสูบบุหรี่ อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
- การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนัก อย่างเช่น เหล้า สุรา เบียร์ สามารถทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหาร จึงมีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลในกระเพาะอาหารได้
- ภาวะจากโรคอื่นๆ เช่น โรคโครห์น กลุ่มอาการโซลลิงเจอร์-เอลลิสัน และมะเร็งกระเพาะอาหาร ที่สามารถเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดแผลในกระเพาะอาหารได้
ซึ่งปัจจัยทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้น มีผลทำให้กรดของน้ำย่อยหลั่งออกมาในกระเพาะอาหารมากจนเกินไป ซึ่งเป็นสาเหตุหลักในการทำให้กระเพาะเป็นแผล ผู้ป่วยจึงควรหลีกเลี่ยงปัจจัยเหล่านี้
อยากรู้ว่าเป็นแผลในกระเพาะอาหารต้องกินยาอะไรใช่ไหม?
คุณสามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ :
เป็น แผลในกระเพาะอาหาร ห้ามกินอะไร บ้าง?
เมื่อเป็นแผลในกระเพาะอาหารห้ามกินอะไร เป็นเรื่องสำคัญที่ต้องใส่ใจ เพื่อลดความเสี่ยงของการระคายเคืองแผลในกระเพาะอาหาร สิ่งที่ห้ามกินมีดังนี้
- อาหารรสเผ็ด ทำให้เยื่อบุกระเพาะอาหารระคายเคืองและเพิ่มการผลิตของกรดในกระเพาะอาหาร ซึ่งจะทำให้อาการของแผลในกระเพาะอาหารแย่ลง
- อาหารทอดและอาหารที่มีไขมันสูง จะไปชะลอกระบวนการสมานแผลในกระเพาะอาหาร
- ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว อย่างเช่น ส้ม มะนาว เพราะสามารถเพิ่มการผลิตกรดในกระเพาะอาหารได้
- คาเฟอีน
- แอลกอฮอล์ ทำให้แผลจากเยื่อบุในกระเพาะอาหารหายช้าลง
- ช็อกโกแลต จะไปกระตุ้นให้หลั่งกรดเกินในกระเพาะอาหารได้
- ผลิตภัณฑ์จากมะเขือเทศ เพราะอาจมีสภาพเป็นกรดทำให้เยื่อบุกระเพาะอาหารระคายเคืองได้
- เครื่องดื่มอัดลม อาจทำให้เกิดแก๊สและท้องอืดได้
- ของดอง
- กาแฟ
นอกเหนือจากการหลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มเหล่านี้แล้ว ก็ควรที่จะทานอาหารที่เป็นผลดีต่อสุขภาพกระเพาะอาหารของเราอีกด้วย
สิ่งสำคัญคือต้องปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสุขภาพสำหรับแผนการรับประทานอาหารเฉพาะบุคคล เนื่องจากอาหารและเครื่องดื่มบางชนิดอาจทนต่อคนบางคนได้มากหรือน้อยกว่าคนอื่น นอกเหนือจากการหลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มเหล่านี้แล้ว สิ่งสำคัญคือต้องคงไว้ซึ่งการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ซึ่งรวมถึงผลไม้ ผัก ธัญพืชไม่ขัดสี และโปรตีนไม่ติดมันจำนวนมาก เพื่อส่งเสริมการรักษาและสุขภาพโดยรวม
แผลในกระเพาะอาหาร กินอะไรได้บ้าง ?
เมื่อเป็น แผลในกระเพาะอาหาร กินอะไรได้บ้าง ? เป็นคำถามที่หลายคนไม่ค่อยรู้กัน วันนี้เราจะมาแนะนำอาหารที่คนเป็นแผลในกระเพาะอาหารควรกินอะไร ได้แก่
- ธัญพืชไม่ขัดสี เช่น ขนมปังโฮลวีต ข้าวกล้อง และควินัว
- โปรตีนไร้ไขมัน อย่างเช่น ไก่ ปลา และเต้าหู้
- ผักและผลไม้ เป็นแหล่งวิตามิน แร่ธาตุ และสารต้านอนุมูลอิสระชั้นเยี่ยมที่ช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้
- นมไขมันต่ำ อย่างเช่น นม โยเกิร์ต และชีส
- สมุนไพรและเครื่องเทศบางชนิด เช่น ขิง ขมิ้นชัน และยี่หร่า มีคุณสมบัติต้านการอักเสบและช่วยลดอาการของแผลในกระเพาะอาหารได้
- การดื่มน้ำมาก ๆ ช่วยให้เยื่อบุกระเพาะอาหารชุ่มชื้นและลดอาการของแผลในกระเพาะอาหาร
- ซุป เช่น ซุปมิโสะ
- อาหารย่อยง่าย อย่างเช่น พืชตระกูลถั่ว เมล็ดทานตะวัน ขนมปังขาว ข้าวขาว ข้าวโอ๊ต โจ๊ก และข้าวต้ม
- อาหารที่มีไขมันต่ำ เช่น เนื้อปลา อกไก่ไม่ติดหนัง
- อาหารที่ความเป็นกรดต่ำ เช่น อาหารทะเล ลำไย ขนุน มะละกอ และแตงไท
- อาหารจำพวกโพรไบโอติกส์ เช่น นมเปรี้ยว โยเกิร์ต กิมจิ มิโสะ
นอกจากประเภทอาหารที่ทานแล้ว ยังควรกินอาหารเป็นมื้อเล็กๆ และทานบ่อยๆ ดีกว่ากินเป็นมื้อใหญ่ๆ ทั้งนี้เพื่อลดปริมาณกรดที่ผลิตในกระเพาะอาหารต่อครั้ง
เป็นโรคกระเพาะห้ามกินผลไม้อะไร ?
สำหรับคนเป็นโรคกระเพาะ ห้ามกินผลไม้ ที่มีรสเปรี้ยว กรดเยอะ และผลไม้ดองทุกชนิด ได้แก่
- ส้ม
- มะนาว
- สับปะรด
- ผลเบอร์รี่
- กีวี
- มะขาม
- มะม่วงดอง
- มะละกอ
- มะเขือเทศ
- มะยม
- องุ่นดอง
- มะปรางดอง
- ฝรั่งดอง
- ฝรั่งแช่บ๊วย
- มะม่วงแช่อิ่ม
- เชอร์รีแช่อิ่ม
- กระท้อนแช่อิ่ม
เนื่องจากผลไม้พวกนี้จะไปกระตุ้นให้มีการหลั่งกรดเกินในกระเพาะอาหารมากเกินไป
วิธีรักษา แผลในกระเพาะอาหาร
สำหรับ วิธีรักษา แผลในกระเพาะอาหาร มีดังนี้
- เลิกสูบบุหรี่
- ลดความเครียด ด้วยการพักผ่อนให้เพียงพอ หรือ หาเวลาผ่อนคลายให้กับตัวเอง
- ทานอาหารย่อยง่าย
- หลีกเลี่ยงการดื่มสุรา และแอลกอฮอล์
- หลีกเลี่ยงอาหารเผ็ดจัดๆ
- หลีกเลี่ยงอาหารเปรี้ยวจัดๆ
- งดการใช้ยาแก้ปวดแอสไพริน
- หลีกเลี่ยงการใช้ยาโรคกระดูกและยาข้ออักเสบทุกชนิด
- ลดดื่มน้ำอัดลม
- งดของดอง
- กินยาลดกรด เช่น H2 receptor antagonists และ Proton pump inhibitors (PPIs)
- ทานยาป้องกันเยื่อบุกระเพาะอาหาร อย่างเช่น misoprostol และ sucralfate
- การผ่าตัด จำเป็นในกรณีที่แผลในกระเพาะอาหารมีเลือดออกในกระเพาะหรือแผลเกิดการทะลุ
- การรักษาด้วยอาหารเสริมจากสมุนไพร เช่น กรีนเคอมิน และ เคอม่าแม็กซ์ ที่มีคุณสมบัติต้านการอักเสบและรักษาแผลในกระเพาะอาหาร
การรักษาจะขึ้นอยู่กับสาเหตุที่เกิดแผลในกระเพาะอาหาร หากเป็นรุนแรงมาก อย่างเช่น มีเลือดออกในกระเพาะ หรือแผลทะลุ ควรรีบเข้าพบแพทย์ทันทีเพื่อรับการรักษาแต่เนิ่นๆ
แต่หากไม่รุนแรงมากนัก ก็ควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารและวิธีดำเนินชีวิต ควบคู่ไปกับการทานอาหารเสริมที่มีส่วนผสมหลักจากสมุนไพรธรรมชาติพวก ขมิ้นชัน หรือขิง อาทิเช่น...
กรีนเคอมิน ที่เป็นรูปแบบแคปซูล ทานเพื่อรักษาแผลในกระเพาะอาหารและปรับสมดุลให้กระเพาะอาหารทำงานได้ตามปกติในระยะยาว และ เคอม่าแม็กซ์ ที่เป็นชนิดน้ำ ดื่มง่าย ไว้ใช้บรรเทาอาการจากแผลในกระเพาะอาหารแบบทันที ดื่มเพื่อรักษาในระยะสั้นเท่านั้น ซึ่งทั้ง 2 ตัวนี้ควรที่จะทานควบคู่ไปด้วยกัน
แนะนำ ยาแผลในกระเพาะอาหาร
สำหรับตัว ยาแผลในกระเพาะอาหาร มียาหลายตัวให้เลือก ได้แก่
- แรนิทิดีน (Ranitidine)
- ไซเมทิดีน (Cimetidine)
- ฟาโมทิดีน (Famotidine)
- ซูคราลเฟต (Sucralfate)
- ไมโซพรอสทอล (Misoprostol)
อย่างไรก็ตาม ยาพวกนี้มีผลข้างเคียงมากมายไม่เหมาะทานในระยะยาว จึงควรพิจารณาทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสมุนไพรเป็นทางเลือกอีกทาง เนื่องจากไม่มีผลข้างเคียง อีกทั้งยังมีค่าใช้จ่ายที่ไม่สูงมากด้วย ซึ่งเราแนะนำตัวที่มีส่วนผสมหลักเป็น ขิงกับขมิ้นชันซึ่งมีสารเคอร์คูมินอยู่ด้วย
นั้นเพราะ เคอร์คูมินเป็นสารต้านการอักเสบที่มีประสิทธิภาพและสารต้านอนุมูลอิสระที่พบในขมิ้นชัน และจากการศึกษาพบว่าสามารถช่วยลดอาการบาดเจ็บของแผลในกระเพาะอาหารและช่วยในการรักษาสมดุลในกระเพาะอาหารอีกด้วย
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร Green Curmin กับ Curma max ประกอบด้วย Curcumin(เคอร์คูมิน), Black Pepper และ Piperine ซึ่งทำงานร่วมกันเพื่อปรับปรุงการดูดซึมของ Curcumin เข้าสู่ร่างกายให้ดีขึ้น 16,000 เท่า จึงทำให้มีประสิทธิภาพมากกว่าการทานขมิ้นชันเปล่าๆ
อาหารเสริม Green Curmin กับ Curma max ไม่เพียงแต่ช่วยบรรเทาแผลในกระเพาะอาหารเท่านั้น แต่ยังช่วยลดการอักเสบและช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้อีกด้วย จึงเหมาะมากสำหรับในการรักษาคนที่เป็นแผลในกระเพาะอาหาร
หากคุณสนใจตัวอาหารเสริม Green Curmin และ Curma Max คุณสามารถกดเข้าไปดูข้อมูลเชิงลึกได้ที่นี่ :
--> 【 ยา ลด กรด ไหล ย้อน 】ขมิ้นชัน กรีนเคอมิน green curmin ดีไหม <--
สรุป
เมื่อเป็นแผลในกระเพาะอาหาร สิ่งสำคัญคือต้องหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิด อย่างเช่น อาหารรสเผ็ด อาหารที่มีไขมันสูง อาหารแปรรูป และแอลกอฮอล์ เพราะจะทำให้อาการแย่ลงและทำให้แผลหายช้าลง ยิ่งไปกว่านั้นยังควรทานพวก ผัก ผลไม้ และเมล็ดธัญพืชแทน ซึ่งสามารถบรรเทาเยื่อบุกระเพาะอาหารและลดการอักเสบของแผลลงได้ แต่อาจใช้เวลาในการรักษาช้าหน่อย
แต่หากต้องการที่จะรักษาแผลให้หายโดยไว ก็อาจจะเลือกทานอาหารเสริมสมุนไพรที่มีส่วนผสมหลักเป็น ขมิ้นชัน หรือ ขิงก็ได้ เพราะเป็นการรักษาแบบธรรมชาติ จึงไม่มีผลข้างเขียงและอันตรายใดๆ อีกทั้งยังมีค่าใช้จ่ายที่ไม่สูงมากนัก ไม่เหมือนกับการทานยาที่อาจมีผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ตามมา หรือเข้ารักษากับแพทย์ที่มีค่าใช้จ่ายในการรักษาค่อนข้างสูงมาก
ที่มา : pptv