ในบทความนี้จะพูดถึง ยารักษา แผลในกระเพาะอาหาร กินยาอะไร รักษายังไง ทำไมสมุนไพรถึงรักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารได้ดีกว่า กี่วันหาย เป็น กระเพาะเป็นแผล อันตรายไหม
บทความนี้จะพาคุณไปหาคำตอบกัน ถ้าพร้อมแล้วก็ไปดูกันเลย!!
โรค แผลในกระเพาะอาหาร รักษา ยังไง?
สำหรับคนที่เป็น โรค แผลในกระเพาะอาหาร รักษา ได้ดังนี้
- เลิกสูบบุหรี่ เนื่องจากทำให้เยื่อบุกระเพาะอาหารระคายเคืองและทำให้แผลในกระเพาะหายช้าลง
- หลีกเลี่ยงอาหารรสเผ็ด
- รับประทานอาหารย่อยง่าย
- หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เหล้า เบียร์ สุรา
- หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ หรือ น้ำอัดลม
- ไม่ใช้ยาแก้ปวดพวกแอสไพริน
- ลดความเครียด เพราะความเครียดจะไปเพิ่มกรดในกระเพาะอาหาร ทำให้การรักษาหายช้าลง
- ทานยาลดกรดในกระเพาะอาหาร แต่สำหรับวิธีนี้ ควรจะเข้าพบแพทย์และให้แพทย์เป็นคนจัดยา
- ทานอาหารเสริมสมุนไพร บางคนอาจใช้การทานอาหารเสริมจากธรรมชาติ เช่น Green curmin, Curma Max ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่ามีคุณสมบัติต้านและลดการอักเสบพร้อมทั้งยังรักษาเยื่อบุกระเพาะอาหาร เพื่อจัดการแผลในกระเพาะอาหารได้อีกด้วย
อย่าไรก็ตาม การรักษาด้วยการเปลี่ยนพฤติกรรมการทานอาหารเป็นวิธีที่ดี แต่ในความเป็นจริงแล้วจำเป็นต้องใช้ความอดทนสูง และระยะเวลาในการรักษาที่ค่อนข้างนาน การทานยาจึงเป็นอีกทางเลือกนึง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ยาที่จะทานก็ต้องเข้าพบแพทย์เพื่อจ่ายยา จึงมีค่าใช้จ่ายที่สูง อีกทั้งยังไม่มีอะไรรับประกันถึงผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นได้อีกด้วย
การทานอาหารเสริมที่ทำจากสมุนไพรพวก ขมิ้นชันหรือขิง จึงเป็นอีก 1 ทางเลือกเข้าท่าที่สุด นั้นเพราะเป็นการรักษาแบบธรรมชาติจึงทำให้ไม่มีผลข้างเคียง อีกทั้งยังใช้เวลารักษาไม่นานนัก และที่สำคัญคือค่าใช้จ่ายไม่สูงเมื่อเทียบกับการที่ต้องเข้าพบแพทย์ หากทานแล้วอาการไม่ดีขึ้น ค่อยเข้าพบแพทย์ก็ยังไม่สาย
หลังจากที่พยายามเฟ้นหาอาหารเสริมที่ดี มีคุณภาพ ราคาเหมาะสม ทางเราจึงเจอ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร Green curminและCurma Max ที่ให้ผลได้เป็นอย่างดี สามารถรักษาโรคที่เกิดในกระเพาะอาหารได้ เช่น กระเพาะอาหารเป็นแผล กระเพาะอาหารอักเสบ กรดไหลย้อน และอาหารไม่ย่อย
หากคุณสนใจตัวอาหารเสริม Green curmin และ Curma Max คุณสามารถกดเข้าไปดูข้อมูลเชิงลึกได้ที่นี่ :
--> อาหารเสริมสมุนไพรขมิ้นชัน กรีนเคอมิน (Green curmin) ดีไหม <--
กระเพาะเป็นแผล อันตรายไหม ?
กระเพาะเป็นแผล เป็นแผลจากการเกิดกรดเกินในเยื่อบุกระเพาะอาหารหรือส่วนบนของลำไส้เล็ก หากไม่มีภาวะแทรกซ้อน แม้จะเจ็บแต่ก็ไม่เป็นอันตรายหากรักษาอย่างเหมาะสมและทันท่วงที
แต่หากปล่อยทิ้งไว้นานๆโดยไม่รักษา แผลในกระเพาะอาหารจะนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง เช่น เลือดออกในกระเพาะอาหาร , กระเพาะทะลุ (มีรูในกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็ก) , โรคโลหิตจาง และมะเร็งกระเพาะอาหาร ซึ่งเป็นอันตรายมาก เพราะอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ โดยเฉลี่ยประมาณ 10-15%
หากผู้ป่วยมีอาการอาเจียนเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ นั้นเป็นสัญญาณว่าอาจมีเลือดออกจากแผลในกระเพาะอาหารแล้ว ผู้ป่วยควรไปพบแพทย์โดยทันที เพื่อรับการรักษาแต่เนิ่นๆ
สรุป คือ หากผู้ป่วยเกิดมีโรคกระเพาะอาหาร ไม่ว่าจะเป็น กรดไหลย้อน กระเพาะอาหารอักเสบ อาหารไม่ย่อย ซึ่งนำไปสู่การมีแผลในกระเพาะเนื่องจากกรดเกินในกระเพาะอาหาร ผู้ป่วยควรรีบหาทางป้องกันและรักษาแต่เนิ่นๆ ก่อนที่จะลุกลามไปจนมีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง อาจจะด้วยการเปลี่ยนพฤติกรรมการทานอาหาร และการดำเนินชีวิต ซึ่งจะอาจจะลำบาก ต้องใช้ความอดทนและเวลารักษานาน
แต่ทางที่ง่ายที่สุดและมีค่าใช้จ่ายที่ไม่แพงมาก คือ การทานอาหารเสริมสมุนไพร เพราะเป็นการรักษาโดยธรรมชาติ ไม่มีผลข้างเคียงและอันตรายเหมือนการทานยาปฏิชีวนะ โดยเฉพาะอาหารเสริมตัวที่ใช้ ขมิ้นชัน หรือ ขิง เป็นส่วนผสมหลัก เพราะ 2 ตัวนี้ ขึ้นชื่อในเรื่องของการรักษาโรคกระเพาะได้เป็นอย่างดี
อยากรู้เรื่องอาการที่เกิดจากแผลในกระเพาะอาหาร ใช่ไหม?
คุณสามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ :
ยารักษา แผลในกระเพาะ อาหาร กินยาอะไร ?
เมื่อพูดถึง ยารักษา แผลในกระเพาะ อาหาร ก็มียาหลายตัวที่สามารถบรรเทาอาการและรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้ แต่อย่างไรก็ตาม ยาเหล่านี้มักมีผลข้างเคียงที่อาจเกิดตามมาได้มากมาย ยารักษาแผลในกระเพาะอาหาร ได้แก่
- ยาลดกรด ใช้เพื่อต้านกรดในกระเพาะอาหารและช่วยบรรเทาอาการในระยะสั้นเท่านั้น จึงอาจไม่ได้ผลกับแผลที่เป็นมานานแล้ว และอาจทำให้เกิดผลข้างเคียง เช่น ท้องเสียหรือท้องผูก
- H2-Receptor Antagonists เช่น แรนิทิดีน (Ranitidine) ฟาโมทิดีน (Famotidine) ไซเมทิดีน (Cimetidine) เป็นต้น เพื่อลดปริมาณการสร้างกรดในกระเพาะอาหาร และอาจทำให้เกิดผลข้างเคียง เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ และท้องเสีย
- Proton pump inhibitors หรือ PPIs เป็นยายับยั้งการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร โดยไปหยุดการทำงานของ proton pump หรือเอนไซม์ hydrogen/potassium adenosine triphosphatase อย่างไรก็ตาม อาจทำให้เกิดผลข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ ท้องเสีย และปวดหัว และถ้ายิ่งใช้ไปนานๆ อาจเกิดผลข้างเคียง เช่น โรคกระดูกพรุนและโรคปอดบวม ได้
- ยาเคลือบกระเพาะอาหาร เช่น ไมโซพรอสทอล (Misoprostol) ซูคราลเฟต (Sucralfate) ใช้เพื่อปกป้องกรดที่จะไปทำลายเยื่อบุในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก
จะเห็นว่า ไม่ว่าจะเป็นยาชนิดใดก็มักจะมีผลข้างเคียงตามมาเสมอ ด้วยเหตุนี้ ผู้ป่วยหลายคนจึงหันไปเลือกทานอาหารเสริมสมุนไพรที่เป็นการรักษาแบบธรรมชาติ เช่น ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร กรีนเคอมินและเคอม่าแม็กซ์ ที่มีสารลดและต้านการอักเสบจากส่วนผสมของเคอร์คูมินและสารสกัดขิงตามธรรมชาติ และยังรักษาแผลในเยื่อบุกระเพาะอาหารได้อีกด้วย อีกทั้งยังไม่มีผลข้างเคียงหรืออันตรายใดๆ
หากคุณสนใจตัวอาหารเสริม กรีนเคอมินและเคอม่าแม็กซ์ คุณสามารถกดเข้าไปดูข้อมูลเชิงลึกได้ที่นี่ :
--> อาหารเสริมสมุนไพรขมิ้นชัน กรีนเคอมินและเคอม่าแม็กซ์ ดีไหม <--
13 สมุนไพร รักษาแผลในกระเพาะอาหาร ได้ผลดี
13 สมุนไพรรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้เป็นอย่างดี มีดังนี้
- ขมิ้นชัน
- ขิง
- ว่านหางจระเข้
- ลูกยอ
- ฝรั่ง
- กล้วยน้ำว้า
- หัวปลี
- เปล้าน้อย
- มะตูม
- กล้วย
- มะขามป้อม
- กะหล่ำปลี
- กระเจี๊ยบเขียว
แม้ว่าจะมียาจะช่วยบรรเทาอาการและรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้ก็จริง แต่ก็มีผลข้างเคียงหลากหลายที่อันตรายตามมาเช่นกัน การใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสมุนไพรจึงเป็นทางเลือกที่กำลังเป็นที่นิยมมากขึ้น เนื่องจากรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่มีผลข้างเคียงด้วย
แต่ก็ไม่ใช่ว่าอาหารเสริมทุกตัวในตลาดจะดีเสมอไป ขอแนะนำให้เน้นไปที่ตัวที่มีส่วนผสมหลักเป็นขมิ้นชันหรือขิง และควรเป็นผลิตภัณฑ์ที่มาการวิจัย และได้รับเครื่องหมาย อย. แล้วเท่านั้น เช่น กรีนเคอมิน และเคอม่าแม็กซ์ ที่มีส่วนผสมของเคอร์คูมินของขมิ้นชันและสารสกัดจากขิงเป็นหลัก
ขมิ้นชันรักษาแผลในกระเพาะอาหารได้ไหม?
เนื่องจากขมิ้นชันมีสารสำคัญ ชื่อว่า Curcuminoids (เคอร์คูมินอยด์) ซึ่งมีฤทธิ์โดดเด่นในการรักษาและต้านการเกิดแผลและสมานแผลภายในกระเพาะอาหาร โดยมันจะไปลดการหลั่งของกรดน้ำย่อยต่างๆ เพื่อลดการแสบท้อง อีกทั้งยังไปกระตุ้นการทำงานให้ผลิตสารคัดหลังที่ทำหน้าที่เคลือบกระเพาะอาหารออกมาให้มากขึ้น
เป็น แผลในกระเพาะอาหารกี่วันหาย ?
เมื่อเป็นแผลในกระเพาะอาหารระยะเวลาในการรักษาจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสาเหตุ วิธีการรักษา ความรุนแรงของแผล แล้วแต่ละกรณีไป ซึ่งหากเป็นแผลไม่รุนแรงนัก เวลารักษาถ้าทานอาหารเสริมจะอยู่ที่ประมาณ 4 สัปดาห์
แต่หากแผลรุนแรง จำเป็นต้องไปพบแพทย์เพื่อทานยา เวลารักษาจะอยู่ที่ประมาณ 4-8 สัปดาห์ หรือมากกว่านั้นขึ้นอยู่กับสาเหตุและความรุนแรงของแผล
สำหรับแผลในกระเพาะอาหารที่เกิดจากการใช้ยาบางชนิด เช่น แอสไพริน , นาโพรเซน และไอบูโพรเฟน การหยุดไม่ทานยาเหล่านี้ก็อาจเพียงพอต่อการทำให้แผลหายได้แล้ว
นอกจากการรักษาด้วยอาหารเสริมหรือยาจากแพทย์แล้ว การเปลี่ยนวิธีดำเนินชีวิตก็มีส่วนช่วยให้แผลหายได้เร็วขึ้นอีกด้วย เช่น การเลิกสูบบุหรี่ , ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ , งดกินอาหารรสจัด , ดื่มน้ำเยอะๆ และไม่เครียด ก็จะมีส่วนช่วยให้รักษาแผลได้เร็วขึ้น
สรุป
เมื่อกระเพาะอาหารเป็นแผล สามารถรักษาได้ด้วยการทานยาโดยต้องมีแพทย์เป็นผู้จ่ายยาให้ หากไม่ต้องการผลข้างเคียงจากการทานยา อาจเลือกการทานอาหารเสริมสมุนไพรที่ไม่มีอันตรายและผลข้างเคียงใดๆ เช่น กรีนเคอมิน และ เคอม่าแม็กซ์ ควบคู่ไปกับการเปลี่ยนวิธีดำเนินชีวิต เช่น ไม่เครียด เลิกสูบบุหรี่ งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และงดทานอาหารรสจัด
ส่วนระยะเวลาการรักษา จะขึ้นกับสาเหตุ ความรุนแรงของแผล และวิธีการรักษา แต่หากไม่ได้เป็นมาก ก็จะใช้เวลารักษาอยู่ที่ประมาณ 4 สัปดาห์
ที่มา : Kapook